วันที่ 25 กันยายน พ.ศ.2557 ครั้งที่ 5
แบบบันทึกอนุทิน
"แนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย"
แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา
เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน
มุมมองต่อภาษาในการจัดประสบการณ์ของ Richard and Rodger
1. ด้านโครงสร้างของภาษา
- นำองค์ประกอบย่อยของภาษามาใช้ในการสื่อสารความหมาย
- เสียง ไวยากรณ์ การประกอบคำเป็นวลีหรือประโยค
2. ด้านหน้าที่ของภาษา
- เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย
- การจัดประสบการณ์เน้นการสื่อความหมาย
- ไม่ได้ละทิ้งแบบแผนหรือไวยากรณ์
3. ด้านปฏิสัมพันธ์
- เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
- การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
- เด็กมีปฏิสัมพันธ์ผ่านการใช้ภาษา
การจัดประสบการณ์ทางภาษาที่เน้นทักษะทางภาษา (Skill Approch)
ให้เด็กได้รู้จักส่วนย่อยๆของภาษา
การประสมคำ
ความหมายของคำ
นำคำมาประกอบเป็นประโยค
การแจกลูกสะกดคำ การเขียน
ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
สนใจ สงสัย มีจินตนาการ เรียนรู้ เลียนแบบ
Kenneth Goodman
เสนอแนวทางการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
มีความเชื่อมโยงระหว่างภาษากับความคิด
แนวทางการสอบมีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้และธรรมชาติของเด็ก
การสอนภาษาธรรมชาติ (Whole Language)
สอนแบบบูรณาการ/องค์รวม
สอนในสิ่งที่เด็กสนใจและมีความหมายสำหรับเด็ก
สอนสิ่งใกล้ตัวเด็กและอยู่ในชีวิตประจำวัน
สอดแทรกการฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนไปพร้อมกับการทำกิจกรรม
ไม่เข้มงวดกับการท่อง สะกด
ไม่บังคับให้เด็กเขียน
หลักของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
1. การจัดสภาพแวดล้อม
2. การสื่อสารที่มีความหมาย
3. การเป็นแบบอย่าง
5. การคาดคะเน
6. การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
7. การยอมรับนับถือ
8. การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
บทบาทของครู
ครูคาดหวังกับเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน
ใช้ประสบการณ์ตรงในการสนับสนุนการอ่าน การเขียน
ครูควรยอมรับกับความไม่ถูกต้องครบถ้วนของเด็ก
ครูสร้างความสนใจในคำและสิ่งพิมพ์
กิจกรรมการเรียนรู้
ฝึกร้องเพลงทั้งหมด 10 เพลง
ผู้แต่ง อาจารย์ ศรีนวลรัตนสุวรรณ
ประกอบด้วย
เพลง เลขบวกลบ เพลง นกกระจิบ
เพลง เที่ยวท้องนา เพลง แม่ไก่ออกไข่่
เพลง ลูกแมวสิบตัว เพลง ลุงมาชาวนา
เพลง ผีเเสื้อ เพลง กระต่าย
เพลง ลูกสัตว์ เพลง นกเขาขัน
หมายเหตุ คัดลอกจากเพื่อน เนื่องจากขาดเรียน